Contact :
0 2319 7677
|
Member Login
|
Register
| Contact :
0 2319 7677
|
Member Login
|
Register
TH
EN
MENU
Home
Management Development Partner
Events
Events
Conference / Seminar
Competitiveness
Membership
Membership
Apply New Member
Privileges and Fee
Member Activities
Our Members
Research & Consulting Services
Research & Consulting Services
Consulting Service
Research / Survey
Reports
Our Clients
Awards
Site Visits & Trips
Management Groups
Management Groups
Corporate Performance Management Group
Marketing Management Group
Operational Excellence Management Group
People Development Group
Technology Innovation Management Group
Digital Technology Management Group
About Us
About Us
Mission & Vision
TMA Board Of Trustees
TMA Council
Organization Chart
CSR
CSR
Scholarship Project
News
News
TMA in the News
Other News
TMA Press Releases
Past Activities
Article Sharing
TMA Magazine
Facilities Services
Join Us
Contact Us
กรุณากรอกข้อมูลเพื่ออ่านบทความเพิ่มเติม
TMA
- กรุณาเลือกตำแหน่ง -
C-Level/SVP
VP/Director
Manager
Officer
- กรุณาเลือกแผนก/ฝ่าย -
Accounting & Finance
Business Development
Communications
Customer services
HR
IT
Legal
Marketing
Overall Management
Purchasing and Procurement
R&D/ Innovation
Sales
Others
ลงชื่อเข้าใช้
TMA
NEWS
Thailand Management Association
News
Article Sharing
ติดปีกความสามารถในการแข่งขันประเทศไทยด้วยเทคโนโลยียุคดิจิทัล Part 2
ติดปีกความสามารถในการแข่งขันประเทศไทยด้วยเทคโนโลยียุคดิจิทัล Part 2
ติดปีกความสามารถในการแข่งขันประเทศไทยด้วยเทคโนโลยียุคดิจิทัล Part 2
6 สิงหาคม 2561 11:52 น.
ผศ.ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA)
กล่าวว่า การปรับเปลี่ยนประเทศให้เข้าสู่ยุคดิจิทัลนั้น ลักษณะของเศรษฐกิจไทยที่ประกอบด้วย 6,300 บริษัทใหญ่ ที่มีทรัพย์สินไม่รวมที่ดิน เกิน 200 ล้านบาท มีพนักงานเกิน 200 คน ซึ่งก่อให้เกิด GDP รวมกันเกิน 50 % ของประเทศ และมี SMEs 2.87 ล้าน แห่ง หรือธุรกิจที่มีที่มีทรัพย์สินไม่รวมที่ดินน้อยกว่า 200 ล้าน มีพนักงานน้อยกว่า 200 คน แต่ในทั้ง 2.87 ล้านแห่งเพียง 700,000 แห่งที่มีบัญชีเคลื่อนไหว ก่อให้เกิด GDP ประมาณไม่ถึง 40 % ที่เหลือเป็นชาวนา 5 ล้านครัวเรือน หรือ 16 ล้านคน ก่อให้เกิด GDP ไม่ถึง 10 % ประเทศไทยไม่มี Deep Tech ซึ่งย่อมาจากคำว่า Deep Technology (เทคโนโลยีชั้นสูง เช่น AI, Block chain, Cloud Computing, IoT) มีอุตสาหกรรม Software แต่ไม่ค่อยเติบโต มี Hardware แต่ส่วนใหญ่เป็นการลงทุนของต่างประเทศ การจะพัฒนา Digital Service ก็ยาก จึงคิดว่าควรเอาแบบสิงคโปร์ที่เปลี่ยนทิศทางพัฒนาไปสู่การทำ Design Technology และสร้างระบบนิเวศที่เอื้อต่อการลงทุนของต่างชาติด้าน Deep Tech เพราะตอนนี้ประเทศต้องจ่ายค่า ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ขาดดุลการค้า 2 แสนล้านบาทต่อปี จึงเป็นที่มาการสร้างโครงการ Digital Park ในพื้นที่ 700 ไร่ ที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ให้เอกชนเข้ามาลงทุนเพื่อก่อให้เกิดการสร้างงานด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี
นอกจากนี้ไทยกำลังสร้าง Smart Cities ที่พื้นที่บางส่วนของ กรุงเทพ 3 จังหวัดของโครงการระเบียงเศรษฐกิจ คือ ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา รวมถึง ภูเก็ต เชียงใหม่ ขอนแก่น ให้สำเร็จภายในปี 2021 โดยตั้งเป้าว่า สมาร์ทซิตี้ต้องมี Smart Economy, Smart Mobility, Smart Energy and Environment, Smart People, Smart Living and Smart Governance มีเอกชนอย่าง SK, Minibare และ IHI เข้ามาเสนอโครงการใน Smart Cities เช่นทำ Smart Lighting, Smart Parking
แต่โครงการ Smart Cities นี้จะไม่สำเร็จหากไม่มีบุคลากร ด้านไอที ซึ่งประเทศไทยยังขาดอยู่ประมาณ 10,000 คนต่อปี การสร้างบุคลากรไอทีนั้นต้องใช้เวลา จึงมีความคิดที่จะนำบุคลกรด้านไอทีจากเวียดนาม คน เพื่อมาทำงานในประเทศไทย ยังไม่สรุปว่าความคิดจะนำไปสู่การปฏิบัติหรือไม่ มีการถกประเด็นเรื่องความแตกต่างวัฒนธรรม
ดูข่าวสารทั้งหมด
สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย TMA ใช้คุกกี้เพื่อให้คุณได้รับประสบการณ์ที่ดี
หากคุณยังคงใช้งานบนเว็บไซต์ เราถือว่าคุณยอมรับ
นโยบายการใช้คุกกี้ ( Cookie Policy )
ยอมรับ